ครีษมายัน วันที่มีกลางวันยาวนานที่สุด

ครีษมายัน วันที่กลางวันยาวนานที่สุดในรอบปี (Summer solstice)

ครีษมายัน ในระยะเวลา 1 ปี ที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดปรากฏการณ์ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ หนึ่งในนั้นคือวันครีษมายัน
ปรากฏการณ์ 'ดาวเสาร์เคียงดวงจันทร์

ชวนทุกคนมาดูปรากฏการณ์ ‘ดาวเสาร์เคียงดวงจันทร์’ วันที่ 22-23 พ.ค. 62 นี้

วันนที่ 22 -23 พ.ค 2562 จะเกิดปรากฏการณ์ 'ดาวเสาร์เคียงดวงจันทร์' ตั้งแต่เวลา 22.00 ของวันที่ 22 จนถึงรุ่งเช้าของวันที่ 23 ซึ่งสามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่า
'หลุมดำ' อำนาจลึกลับในจักรวาล

ทำความรู้จักกับ ‘หลุมดำ’ อำนาจลึกลับในจักรวาล มีหน้าตาเป็นยังไง?

คณะนักวิทยาศาสตร์จากโครงการกล้องโทรทรรศน์ EHT ได้เผยภาพถ่ายหลุมดำระยะไกล ซึ่งอยู่ใจกลางกาแล็กซี่ M87 - 'หลุมดำ' อำนาจลึกลับในจักรวาล มีหน้าตาเป็นยังไง?
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์

ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ ที่จะเกิดขึ้นในปี 2019

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เปิดเผยปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ปี 2019 - ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
ดาวอังคารโคจรใกล้โลกมากที่สุด ในรอบ 15 ปี

ห้ามพลาด … ดาวอังคารโคจรใกล้โลกมากที่สุด ในรอบ 15 ปี คืนนี้ 31 ก.ค. 61

ในวันนี้ (31 ก.ค) ดาวอังคารจะเข้าใกล้โลกมากที่สุดในรอบ 15 ปี นับตั้งแต่ปี 2546 หากพลาดโอกาสในครั้งนี้อาจจะได้เห็นอีกครั้งในอีก 17 ปีข้างหน้า (ปี 2578)
1 วัน มีมากกว่า 24 ชั่วโมง เพราะดวงจันทร์

1 วัน มีมากกว่า 24 ชั่วโมง เพราะดวงจันทร์ กำลังถอยห่างออกจากโลก !

1 วัน มีมากกว่า 24 ชั่วโมง เพราะดวงจันทร์ - หลายคนชอบบ่นว่า 24 ชั่วโมงมันน้อยเกินไป และเหมือนว่าดวงจันทร์จะได้ยินเสียงบ่นของพวกเรา เพราะมันกำลังถอยห่างจากโลกของเราไปเรื่อย ๆ 
จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าโลกนี้ไม่มีดวงจันทร์

จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าโลกนี้ไม่มีดวงจันทร์ – ไม่มีฟูลมูนปาร์ตี้ ไม่มีเพลงเดือนเพ็ญของน้าหงา

ในทุก ๆ ปี ดวงจันทร์จะถอยห่างออกจากโลกของเราไปประมาณ 1.5 นิ้ว แล้วจะเกิดอะไรขึ้นกับโลกของเราบ้าง ถ้าวันหนึ่งดวงจันทร์หายไป จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าโลกนี้ไม่มีดวงจันทร์
7 เรื่องดาราศาสตร์ ที่จะเกิดขึ้นในปี 2018

7 เรื่องดาราศาสตร์ ที่จะเกิดขึ้นในปี 2018 รอชมปรากฎการณ์ต่างๆ กันได้เลย

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) สถาบันที่ให้ข้อมูลและดูแลเรื่องดาราศาสตร์ในประเทศไทย เปิดเผยเรื่องราวของดาราศาสตร์ที่จะเกิดขึ้นในปี 2018
วันศารทวิษุวัต กลางวันยาวเท่ากับกลางคืน

วันศารทวิษุวัต กลางวันยาวเท่ากับกลางคืน ปรากฏการณ์สำคัญการขึ้น-ตกดวงอาทิตย์

ดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออก และตกทางในทางทิศตะวันตกพอดี ส่งผลให้เวลาในกลางวันและกลางคืนเท่ากัน

นักดาราศาสตร์ ค้นพบระบบสุริยะใหญ่สุดในกาแลคซี่

ดร.ไซมอน เมอร์ฟี่ นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย เปิดเผยการ ค้นพบระบบสุริยะใหญ่สุดในกาแลคซี่ ถือว่าใหญ่กว่าที่เคยพบมา ต้องใช้เวลา 900,000 ปี ในการโคจร รอบดาวฤกษ์ 1 รอบ